ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ชาวพุทธที่แท้ ทั้งหลายต้องต่อสู้เพื่อสถาปนา"ระบอบจักรพรรดิราช"


โดย พุทธฆราวาส

เกริ่นนำ ตั้งแต่ศตวรรรษที่ 19 เป็นต้นมานั้น พุทธศาสนาและหมู่มวลประชาชาติพุทธ ต้องเผชิญหน้ากับวิกฤติการณ์ทั้งภายนอกและภายใน ภายนอกนั้นคือ การแผ่ขยายตัวของลัทธิเจ้าจักรวรรดินิยมตะวันตกทั้ง อังกฤษและฝรั่งเศษรวมไปถึงอีกหลายชาติ ซึ้งถูกบงการและสนับสนุนอย่างแข็งขันจากพวกพ่อค้า นายทุน ซึ้งได้ร่วมลงขันสนับสนุนให้ประเทศตะวันตกต่างๆเหล่านี้นั้น ส่งเรือปืน และ กองกำลังติดอาวุธ เข้าไปปล้นชิงเอาทรัพยากรและยึดครองดินแดนต่างๆให้เข้ามาอยู่ในระบบการค้าเสรีและตลาดทรัพสินทร์โลก ซึ้งพวกนายทุนหยิบเลือกจะใช้สอยเมื่อไหร่ก็ได้ และ ภัยที่เกิดจากภายในตัวของประชาชาติพุทธเอง ทั้งความเสื่อมจากการละเลยปฏิบัติต่อหลักธรรมอย่างเคร่งครัดของชาวพุทธ เทคโนโลยีที่ล้าหลัง การปฏิวัตและมีอำนาจขึ้นมาของกลุ่มชนชั้นนายทุนสมัยใหม่ในสังคมของชาวพุทธเองที่เกิดผลพวงระบบการค้าโลกที่ชาวตะวันตกได้นำเอามายัดเยียดให้ ซึ้งคนเหล่านี้นั้นได้กระทำการกดขี่ขูดรีดต่อชาวพุทธเช่นเดียวกันกับนายทุนของพวกจักรวรรดินิยมตะวันตกไม่มีผิดเพี้ยน ไม่ใช้แค่นั้นเราชาวพุทธต้องเผชิญกับวิกฤติการณ์ทางอุดมการณ์อีกด้วยซึ้ง วิกฤติ นี้ไม่ได้เกิดจากการที่คำสอนของพุทธศาสนานั้นเสื่อมลงหรือไม่สามารถต่อสู้กับแนวคิดปรัชญาทั้งหลายของโลกตะวันตก ทั้ง ประชาธิปไตย ชาตินิยม ฟาสซิสต์ เผด็จการ หรือ สังคมนิยม ในโลกตะวันตกไม่ได้ แต่เกิดจากการที่ ชาวพุทธ นั้นได้ผินหลังให้กับหลักคำสอนและละเลยหน้าที่ในการปฏิบัติตนในฐานะชาวพุทธนั้นเอง

ถึงแม้ชาวพุทธจะต่อสู้จนได้รับเอกราช แต่ เอกราช ที่เราต่อสู้มานั้น ต่างล้วนมีพื้นฐานอยู่บนเรื่องของชาติตระกูล วรรณะ เผ่าพันธุ์ ซึ้งเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าพยายามจะยกเลิกความคิดเหล่านี้มาโดยตลอด เพราะเป็นการลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์ในทัศนะของพระพุทธศาสนา และพระองค์มุ่งสร้าง ชาติที่ตั้งอยู่บนหลักธรรม ซึ้งไม่ถูกกะเกณฑ์ ด้วยความแตกต่างทาง สีผิว ภาษา หรือเผ่าพันธุ์ แต่ถูกกะเกณฑ์ในฐานะของการปฏิบัติตนให้ตั้งอยู่บนหลักธรรมของชาวพุทธ ไม่ใช้แค่นั้นถึงแม้ชาวพุทธจะต่อสู้จนได้รับเอกราชก็จริงแต่ก็ไม่ใช้เอกราชที่สมบรูณ์แบบหากเป็นเอกราชที่ถูกกำหนดกะเกณฑ์ ด้วยระบบโลกแบบตะวันตก และ ความคิดแบบตะวันตก เราต้องตกเป็นอาณานิคมทางภูมิปัญญาต้องคอยเรียนรู้ ทฤษฎี แนวคิด ทางปรัชญาของตะวันตก และไม่คิดจะสร้างแนวคิด และ ทฤษฎีที่จะใช้อธิบายระบบโลกภายใต้ทัศนะของชาวพุทธขึ้นมา โรงเรียน และ มหาลัย กลายเป็นดินแดนอาณานิคมยุคใหม่ ที่นักเรียน นักศึกษา จะต้องเรียนรู้และมองผ่านความคิด ทฤษฎีต่างๆในสายตาของชาวตะวันตกทั้งหมดเท่านั้น กลายเป็นเพียงพื้นที่ผลิตบุคคลที่จะมาปกครองประเทศในรูปแบบตะวันตกภายใต้คราบของกลุ่มชนเราเพียงเท่านั้น และเจ้านายของเราเหล่านี้ๆเองที่ได้ทำการ สลายอัตลักษ์ของความเป็นชาวพุทธ และ สลายขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนาของชาวพุทธ ทั้งหลาย ทั้งใน ไทย ลาว กัมพูชา พม่า ศรีลังกา เวียดนาม จีน เกาหลี ทิเบต และ ญี่ปุ่น โดยใช้ทั้งไม้อ่อนและกำปั้นเหล็กเข้าบดขยี้ขบวนการชาวพุทธ

เราเห็นตัวอย่างในประวัติศาสตร์มากมายว่า ชนชั้นปกครองสมัยใหม่ของชาวพุทธเรานั้น เป็นพวกหน้าซื้อใจคด และเป็นผู้ปล้นชิงอิสรภาพของชาวพุทธ และพยายามทำลายพุทธศาสนาและการเคลื่อนไหวเพื่อพุทธศาสนามาโดยตลอด เพราะฉะนั้นการต่อสู้กับคนเหล่านี้ จะเป็นอะไรไปได้นอกจากการ ต่อต้านของประชาชนชาวพุทธที่มีใจรักความเป็นธรรมและพุทธศาสนาทุกภาคส่วน ทั้งในการต่อสู้แบบสันติหากกระทำได้ หรือ การต่อสู้โดยการใช้กำลังอาวุธ เพื่อโค้นล้มระบอบการปกครองของเจ้าอาณานิคมยุคใหม่เหล่านี้ และ สถาปนา ระบอบจักรพรรดิราช ขึ้นมาสร้างสรรค์สังคมของพวกเราเองเสียใหม่ ให้เดินไปตามครรลองของหลักธรรมในพุทธศาสนาอีกครั้ง

เราขอเรียกร้องต่อชาวพุทธและนักเคลื่อนไหวเพื่อพุทธศาสนาทั้งหลายว่าการต่อสู้นั้นจะกระทำเพื่อระบอบการปกครองแบบใดแบบหนึ่งนอกพุทธศาสนาไม่ได้ จะต้องยึดมั่น ถือมั่น ในหลักการของพุทธศาสนา และ ระบอบจักรพรรดิราช เท่านั้น เพื่อสถาปนาประชาชาตินี้ให้กลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

กษัตริย์อโนรธา นักปฏิวัติแห่งพุทธศาสนา

โดย พุทธฆราวาส หลังจากการสังคายนาครั้งที่ 3 นั้น "จักรพรรดิราชอโศก โมริยวงษ์" หรือ "พระเจ้าอโศกมหาราช"นั้นได้มีการส่งสมณฑูตเข้ามาเผยแผ่ศาสนาพุทธในแถบสุวรรณภูมิ ซึ้งหนึ่งนั้นก็คือดินแดนที่เรียกในปัจจุบันว่า"พม่า"ด้วย พม่านั้นเป็นดินแดนที่ศาสนาพุทธรุ่งเรืองมาช้านาน ก่อนที่ชนชาติพม่าจะเข้ารับนับถือศาสนาพุทธต่อจากชนชาติมอญรามัญ(อันเป็นชนชาติแรกๆในสุวรรณภูมิที่เข้ารับศาสนาพุทธ)ซะอีก ซึ้งในสมัยก่อนนั้นชนชาติพม่านับถือศาสนาผี-ไสย โดยผีของชาวพม่านั้นถูกเรียกว่า"นัต"และ ยังมีลัทธิอะยะจีซึ้งเป็นลัทธิหมอผีท้องถิ่นซึ้งชาวพม่าให้การนับถือก่อนศาสนาพุทธซะอีกจนกระทั่งการมาถึงของบุรุษ ผู้ได้ชื่อว่าเป็นปฐมกษัตริย์ของชาวพม่าทั้งปวง บุรุษผู้นั้นมีชื่อว่า "พระเจ้าอโนรธา" หรือ"พระเจ้าอโนรธามังช่อ" กษัตริย์อโนรธา นั้นถือได้ว่าเป็นปฐมกษัตริย์ของชาวพุทธและอาณาจักรพม่าทั้งปวง เพราะเป็น กษัตริย์องค์แรกที่ไม่ได้แค่ขยายอาณาเขตของอาณาจักรเท่านั้น แต่ยังเผยแผ่ธรรมแห่งพระพุทธองค์ ไปสู่ชาวพม่าและชนกลุ่มน้อยอื่นๆด้วย ซึ้งจุดเริ้มต้นของการท...

"กษัตริย์มินดง"ผู้ปกครองนักปฏิรูปเพื่อพุทธศาสนา

โดย พุทธฆราวาส  กษัตริย์มินดง ท่านเกิดในวันที่ 8 กรกฏาคม ปีพุทธศักราช 2351 ท่านเป็นบุตรของ กษัตริย์แสรงแมง (ซึ้งเป็นกษัติรย์ของพม่าในยุคสมัยนั้น) กับ ราชินีแมนู ในยุคสมัยของท่านนั้นท่านได้ทันเห็นสงครามระหว่างอังกฤษกับพม่าและเห็นการที่พม่าถูกเชือดเฉือนดินแดนออกไป ทำให้ท่านต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมอย่างมากและมีความต้องการในการที่จะพัฒนาประเทศให้ทันสมัยในขณะเดียวกันกับที่คงไว้ซึ้งค่านิยมแบบชาวพุทธและพระพุทธศาสนา หลังจากที่ท่านได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัต ริย์ของพม่าในช่วงปีพุทธศักราช 2396 แล้วนั้นท่านได้เริ้มแผนงานการปฏิรูปประเทศของท่านเป็นการใหญ่และกลายเป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่อการปฏิรูปประเทศอย่างมาก โดยท่านได้ส่งเหล่าพระราชโอรส ขุนนาง และ เชื้อพระวงษ์ ทั้งหลายออกไปดูงานยังประเทศตะวันตกต่างๆเช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศษ และ อิตาลี เพื่อที่จะได้เรียนรู้ความสำเร็จในการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศเหล่านั้นเพื่อให้คนกลุ่มนี้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศพม่าในทุกๆด้าน และ เพื่อป้องกันตัวเองจากการถูกล่าอาณานิคมโดย ศตรูหมายเลขหนึ่งของพม่าในตอนนั้นซึ้งก็คือ อังกฤษ นั้นเอง ที...

เมื่อพระพุทธเจ้ากล่าวถึง"ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ"

โดย พุทธฆราวาส ในสมัยพุทธกาลนั้นมีลัทธิมากมายเกิดขึ้นซึ้งล้วนเป็น"ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ"นอกศาสนาพุทธ ซึ้งลัทธิเหล่านี้พระพุทธเจ้า ได้จำแนกความเชื่อลัทธิต่างๆเหล่านี้โดยรวมออกเป็น 3 ลัทธิใหญ่ซึ้งมีความเชื่อและการปฏิบัติไปอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ ๑. ปุพเพกตเหตุวาท การถือว่า สุขทุกข์ทั้งปวงเป็นเพราะกรรมเก่า (past-action determinism) เรียกสั้นๆ ว่า ปุพเพกตเหตุวาท (ลัทธิกรรมเก่า) ๒. อิสสรนิมมานเหตุวาท การถือว่าสุขทุกข์ทั้งปวงเป็นเพราะการบันดาลของเทพผู้เป็นใหญ่(theistic determinism) เรียกสั้นๆ ว่า อิศวรกรณวาท หรือ อิศวรนิรมิตวาท (ลัทธิที่เชื่อถือในเรื่อง เทพและพระเจ้า ทั้งหลาย) ๓. อเหตุอปัจจยวาท การถือว่า สุขทุกข์ทั้งปวง เป็นไปสุดแต่โชคชะตาลอยๆ ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย (indeterminism หรือ accidentalism) เรียกสั้นๆ ว่า อเหตุวาท (พิจารณาจากพุทธพจน์แต่ละข้อๆ) ทั้งนี้ตามพุทธพจน์ว่า “ภิกษุทั้งหลาย ลัทธิเดียรถีย์ ๓ ระบบเหล่านี้ ถูกบัณฑิตไต่ถาม ซักไซ้ไล่เลียงเข้า ย่อมอ้างการถือสืบๆกันมา ยืนกรานอยู่ในหลักอกิริยา (การไม่กระทำ) คือ ๑. สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะ มีทิฐิอย่างนี...